9.2 C
New York
วันพุธ, มกราคม 1, 2025

Buy now

Google search engine

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 2566 การทดสอบ NT ปีการศึกษา 2565 สามารถติดตาม ประกาศผลสอบ nt ได้ที่นี่

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 2566 การทดสอบ NT ปีการศึกษา 2565 สามารถติดตาม ประกาศผลสอบ nt ได้ที่นี่

การทดสอบ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 จัดสอบในวันที่ 15 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา จะประกาศผลสอบ ภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2566 นี้ ท่านสามารถ ดู ผลสอบnt ป.3 2566 ได้ทั้งรายบุคคล และ รายโรงเรียน

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 2566 การทดสอบ NT ปีการศึกษา 2565 สามารถติดตาม ประกาศผลสอบ nt ได้ที่นี่
เช็คที่นี่ ผลสอบ nt ป.3 2566 การทดสอบ NT ปีการศึกษา 2565 สามารถติดตาม ประกาศผลสอบ nt ได้ที่นี่

การสอบ National Test (NT) คือ การทดสอบความสามาถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ และความคิดรวบยอดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ถึงข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ
1. ความสามารถด้านภาษา (Literacy)
2. ด้านคำนวณ (Numeracy)
3. ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities)
นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาความสามมารถของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพต่อไป

การจัดสอบจะถูกจัดขึ้นทุกปีในช่วงเดือนมีนาคม และจะประกาศผลสอบในเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤษภาคม โดยจะใช้ข้อสอบมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เป็นผู้จัดสอบ และการสอบ National Test (NT) นั้น ไม่มีค่าใช้จ่ายสำหรับผู้สอบ หลักจากสอบเสร็จแล้วนั้นผู้สอบจะได้ทราบคะแนนสอบ ที่ตนเองทำได้และได้ทราบว่าผู้สอบอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ของจำนวนผู้สอบทั้งหมดทั่วประเทศ

การตรวจสอบ หรือ เช็คคะแนนสอบ NT สามารถ ดูคะแนนสอบ ได้ทั้งรายบุคคล และ รายโรงเรียน โดยครู และ ผู้ปกครอง ก็สามารถเข้าดู ผลสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มีกำหนดการจะประกาศผลสอบ nt วันที่ 2 พ.ค. 2566 เป็นต้นไป สามารถเข้าดู ผลสอบ NT ตามลิงก์ด้านล่างครับ

สำหรับวิธีดูคะแนน NT ป.3 2566 รายบุคคล ท่านสามารถกรอกรายละเอียด ได้ดังนี้

  • ปีการศึกษาที่สอบ
  • เลขประจำตัวประชาชน
  • รหัสยื่นยันตัวตน ดังภาพ (RG3YQ)

ประกาศผลสอบ NT 2566 วันไหน ดูคะแนน NT ป.3 2566 รายบุคคล ทำยังไง ดูได้ที่นี่  สอบ nt เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566

ขอบคุณที่มาจาก : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง ผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ประกาศผลสอบ NT 2566 วันไหน วิธีดูคะแนน NT ป.3 2566 (ปีการศึกษา 2565) รายบุคคล ทำยังไง เช็กได้ที่นี่

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล สามารถเข้าดูได้ทั้งครู และ ผู้ปกครอง ผ่านลิงก์ ประกาศผลสอบ nt ปีการศึกษา 2565

ลิงก์ผลสอบ nt ป.3 2566 สพฐ. ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ลิงก์ผลสอบ nt ป.3 2566 สพฐ. ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ท่านสามารถเช็ค ผลสอบ NT 2566 และ ผลคะแนน NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 รายโรงเรียน รายบุคคล ได้ที่นี่ การสอบประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT: National Test) จัดสอบในระดับชั้น ป.3

ผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่ 

การสอบ NT คืออะไร?
การสอบ National Test (NT) คือ การทดสอบความสามาถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ และความคิดรวบยอดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ถึงข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ
1. ความสามารถด้านภาษา (Literacy)
2. ด้านคำนวณ (Numeracy)
3. ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities)
นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาความสามมารถของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพต่อไป

การจัดสอบจะถูกจัดขึ้นทุกปีในช่วงเดือนมีนาคม และจะประกาศผลสอบ nt รายโรงเรียน รายบุคคล ใน เดือนเมษายน หรือ ต้นพฤษภาคม โดยจะใช้ข้อสอบมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เป็นผู้จัดสอบ และการสอบ National Test (NT) นั้น ไม่มีค่าใช้จ่ายสำหรับผู้สอบ หลักจากสอบเสร็จแล้วนั้นผู้สอบจะได้ทราบคะแนนที่ตนเองทำได้และได้ทราบว่าผู้สอบอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ของจำนวนผู้สอบทั้งหมดทั่วประเทศ

หลายท่านคงอยากจะทราบผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 รายโรงเรียน รายบุคคล ได้ที่นี่ โดยมีวิธีการดังนี้

วิธีดูคะแนน NT ป.3 2566 รายบุคคล ทำดังนี้

  1. ปีการศึกษาที่สอบ
  2. เลขประจำตัวประชาชน
  3. รหัสยื่นยันตัวตน ดังภาพ (RG3YQ)

ผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ขอบคุณที่มาจาก : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง เช็คที่นี่ ประกาศผลสอบ nt ป.3 2566 ผลสอบ nt ป.3 ปีการศึกษา 2565 ประกาศผลสอบ ภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2566 นี้

ประกาศผลสอบ nt 2566 ผลสอบNT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง ทั้งส่วนที่เป็นสมาชิก กบข. และ ไม่ได้เป็นสมาชิก กบข.

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง
ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

วันนี้เว็บไซต์ครูดีดอทคอมขอนำข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับ ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง สำหรับผู้ที่จะเกษียณอายุในปีงบประมาณนี้ (30 กันยายน) เพือให้ทุกท่านได้วางแผนการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม สำหรับการดำเนินชีวิตหลังวัยเกษียณ ซึ่งในปัจจุบันการรับสิทธิประโยชน์ของ ข้าราชการเกษียณอายุราชการ นั้น จะมีการรับสิอทธิประโยชน์ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่เป็นสมาชิก กบข. และ รูปแบบที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กบข. ซึ่งจะมีรายละเอียดในการรับผลประโยชน์ดังนี้ครับ

 เรื่องราวที่น่าสนใจ : active learning คือ อะไร สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning

กรณีข้าราชการผู้เกษียณอายุราชการเป็นสมาชิก กบข.

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

 

กรณีข้าราชการผู้เกษียณอายุราชการไม่ได้เป็นสมาชิก กบข.

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ข้าราชการเกษียณอายุราชการ แล้ว...ได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

ขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูลจาก : http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=45777&Key=infographics

active learning คือ อะไร สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning

active learning คือ อะไร สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning วันนี้มาหาคำตอบได้ที่นี่ค่ะ

active learning คือ อะไร สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning
active learningคือ อะไร สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning

แอคทีฟเลินนิ่ง คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ และได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป เป็นการจัดกิจกรรมเรียนรู้ภายใต้สมมติฐาน 2 ประการ คือ

1. การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์
2. แต่ละคนมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน

ความรู้ที่ได้เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว เกิดการเรียนรู้จากการอ่าน การเขียน การโต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า

จะเห็นได้ว่า กรวยแห่งการเรียนรู้นี้ได้แบ่งเป็น 2 กระบวนการ คือ

1. กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning 
• กระบวนการเรียนรู้โดยการอ่านท่องจำผู้เรียนจะจำได้ในสิ่งที่เรียนได้เพียง 10%
• การเรียนรู้โดยการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว โดยที่ผู้เรียนไม่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมอื่นในขณะที่อาจารย์สอนเมื่อเวลาผ่านไปผู้เรียนจะจำได้เพียง 20%
• หากในการเรียนการสอนผู้เรียนมีโอกาสได้เห็นภาพประกอบด้วยก็จะทำให้ผลการเรียนรู้คงอยู่ได้เพิ่มขึ้นเป็น 30%
• กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพิ่มขึ้น เช่น การให้ดูภาพยนตร์ การสาธิต จัดนิทรรศการให้ผู้เรียนได้ดู รวมทั้งการนำผู้เรียนไปทัศนศึกษา หรือดูงาน ก็ทำให้ผลการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเป็น 50%

2. กระบวนการเรียนรู้ active learning คือ (แอคทีฟเลินนิ่ง)
• การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิดความรู้ ความเข้าใจนำไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าหรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสร่วมอภิปรายให้มีโอกาสฝึกทักษะการสื่อสาร ทำให้ผลการเรียนรู้เพิ่มขึ้น 70%
• การนำเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์จำลอง ทั้งมีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง มีการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งจะทำให้ผลการเรียนรู้เกิดขึ้นถึง 90%

 active learning คืออะไร ลักษณะของ Active Learning (แอคทีฟเลินนิ่ง)(อ้างอิงจาก :ไชยยศ เรืองสุวรรณ)

  • เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
  • ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
  • ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฎิสัมพันธ์ร่วมกัน และร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
  • ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
  • เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิด
  • เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทักษะการคิดขั้นสูง
  • เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอด
  • ผู้สอนจะเป็นผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
  • ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน

เรื่องที่น่าสนใจ >> บทบาทของครูในการเรียนรู้แบบ Active Learning

active learning คือ อะไร บทบาทของครู กับ Active Learning แอคทีฟเลินนิ่ง ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ (2550) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดังนี้

  • จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพัฒนาผู้เรียนและเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงของผู้เรียน
  • สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน
  • จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
  • จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน
  • จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่หลากหลาย
  • วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหา และกิจกรรม
  • ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของผู้เรียน

ขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : https://www.kruupdate.com/active-learning

เรื่องราวที่น่าสนใจ : เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล สามารถเข้าดูได้ทั้งครู และ ผู้ปกครอง ผ่านลิงก์ ประกาศผลสอบ nt ปีการศึกษา 2565

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล สามารถเข้าดูได้ทั้งครู และ ผู้ปกครอง ผ่านลิงก์ ประกาศผลสอบ nt ปีการศึกษา 2565

เช็คที่นี่ ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล สามารถเข้าดูได้ทั้งครู และ ผู้ปกครอง ผ่านลิงก์ ประกาศผลสอบ nt ปีการศึกษา 2565

การสอบ nt ปีการศึกษา 2565 ทำการทดสอบในวันที่ 15 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา ครู และ ผู้ปกครอง สามารถเข้าไปเช็ค ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล ที่จะประกาศผลสอบ ภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2566 นี้

วิธีดู ผลสอบnt ป.3 ปี 2566 รายบุคคล สามารถเข้าดูได้ทั้งครู และ ผู้ปกครอง ผ่านลิงก์ ประกาศผลสอบ nt ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

การสอบ National Test (NT) คือ การทดสอบความสามาถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ และความคิดรวบยอดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ถึงข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ
1. ความสามารถด้านภาษา (Literacy)
2. ด้านคำนวณ (Numeracy)
3. ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities)
นำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาความสามมารถของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพต่อไป

การจัดสอบจะถูกจัดขึ้นทุกปีในช่วงเดือนมีนาคม และจะประกาศผลสอบในเดือนเมษายน โดยจะใช้ข้อสอบมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เป็นผู้จัดสอบ และการสอบ National Test (NT) นั้น ไม่มีค่าใช้จ่ายสำหรับผู้สอบ หลักจากสอบเสร็จแล้วนั้นผู้สอบจะได้ทราบคะแนนที่ตนเองทำได้และได้ทราบว่าผู้สอบอยู่ในระดับที่เท่าไหร่ของจำนวนผู้สอบทั้งหมดทั่วประเทศ

หลายท่านคงอยากทราบว่า ประกาศผลสอบ NT 2566 ว่าจะประกาศผลสอบวันไหนและจะดูคะแนนสอบ NT ป.3 2566 รายบุคคล ต้องทำยังไงบ้างซึ่งท่านผู้สนใจสามารถดูผลการสอบได้ที่นี่ครับ สำหรับผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 นั้น สพฐ.ได้ทำการสอบเอ็นที สำหรับนักเรียนชั้นป.3 ไปแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มีกำหนดการจะประกาศผลสอบ nt วันที่ 2 พ.ค. 2566 เป็นต้นไป สามารถทำตามวิธีด้านล่างครับ

สำหรับวิธีดูคะแนน NT ป.3 2566 รายบุคคล ท่านสามารถกรอกรายละเอียด ได้ดังนี้

  • ปีการศึกษาที่สอบ
  • เลขประจำตัวประชาชน
  • รหัสยื่นยันตัวตน ดังภาพ (RG3YQ)

ประกาศผลสอบ NT 2566 วันไหน ดูคะแนน NT ป.3 2566 รายบุคคล ทำยังไง ดูได้ที่นี่  สอบ nt เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566

ขอบคุณที่มาจาก : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง ผลสอบ NT 2566 ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถ เช็คผลคะแนนสอบ NT ป.3 ปีการศึกษา 2565 ได้ที่นี่

ประกาศผลสอบ NT 2566 วันไหน วิธีดูคะแนน NT ป.3 2566 (ปีการศึกษา 2565) รายบุคคล ทำยังไง เช็กได้ที่นี่

งานวิจัยในชั้นเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับอนุบาล ประถม มัธยม เพื่อเป็นตัวอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียน กว่า 200 งานวิจัย ไฟล์ doc (word)

0

งานวิจัยในชั้นเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับอนุบาล ประถม มัธยม เพื่อเป็นตัวอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียน กว่า 200 งานวิจัย ไฟล์ doc (word)

สวัสดีครับวันนี้เว็บไซต์ครูดีมีงาน งานวิจัยในชั้นเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถม มัธยม เพื่อเป็นตัวอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียน โดยวันนี้มีงานวิจัยในชั้นเรียนมาฝากทุกท่านดังนี้ครับ

งานวิจัยในชั้นเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับอนุบาล ประถม มัธยม งานวิจัยหน้าเดียวไฟล์ doc ล่าสุด 2566
งานวิจัยในชั้นเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับอนุบาล ประถม มัธยม งานวิจัยหน้าเดียวไฟล์ doc ล่าสุด 2566

วิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) หมายถึงการสืบสอบเชิงธรรมชาติ( Natural Inquiry) จากปรากฎการณที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอน การเรียนรู้หรือ พฤติกรรมผู้เรียนโดยที่ครูเป็นผู้วิจัยในสิ่งที่ครูปฏิบัติอยู้ มีผู้เรียน ผู้บริหารหรือ ครูในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการวิจัยด้วย

การวิจัยในชั้นเรียน เป็นแนวทางการดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนรู้การเรียนการสอน เพื่อ แก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับนักเรียน แบะพัฒนาการ ออกแบบสื่อ นวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อนําผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของ นักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม ทําไมครูผู้สอนต้องเป็นนักวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ครูผู้สอนต้องเป็นครูนักวิจัยในชั้นเรียนด้วยเหตุผลหลายประการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายทางการศึกษาและ ข้อกําหนดของคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู และเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการประเมินตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพภายในของ สพฐ. และ การประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.

สำหรับตัวอย่าง ตัวอย่างวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งมีทั้งงาน วิจัยในชั้นเรียน ใหม่ ๆ เก่าๆ ปะปนกันไป ซึ่งก็มีทั้งงานวิจัยในชั้นเรียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ งานวิจัยอนุบาลเป็นต้น โดยทุกท่านสามารถดาวน์โหลดวิจัยในชั้นเรียน ไฟล์ doc (word) อัพเดตล่าสุดปี 2566 ดังนี้ครับ

1.การแก้ปัญหานักเรียนเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

2.การพัฒนาการเขียนคำที่มีวรรณยุกต์โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

3.การทำสังคมมิติเพื่อปรับปรุงพฤติกรรมนักเรียน<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

4.การประเมินโครงการชมรมนักวิจัยรุ่นจิ๋ว<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

5. การพัฒนาความสามารถทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์สำหรับเด็กเรียนอ่อนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6  โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนที่สร้างขึ้น <คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

6.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านการฟัง <คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

7. งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องพัฒนาการทางสังคม ปลูกฝังค่านิยมและความรับผิดชอบ<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

8. งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ ในการกระตุ้นให้นักเรียน เกิดการพัฒนาทักษะในด้านการเขียนเรื่อง<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

9. งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการวิเคราะห์ การแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

10. งานวิจัยในชั้นเรียนชื่อเรื่องศึกษาและ แก้ปัญหานักเรียน เขียนภาษาไทย ไม่ถูกต้อง<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

11. วิจัยในชั้นเรียน word เรื่องส่งเสริมการอ่านสะกดคำ ของนักเรียน<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

12. งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการส่งเสริมการท่องคำศัพท์ในวิชา Social Studies ในเรื่องอาชีพและสถานที่ต่างๆ ในชุมชน<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัย>

คุณครูหรือผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดตัวอย่างงาน วิจัยในชั้นเรียน ทั้งหมดกว่า 250 เรื่องได้ที่ลิงก์ด้านล่างนี้ครับ<คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดงานวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดกว่า 250 เรื่อง>

เรื่องราวที่น่าสนใจ : รวมวิจัยไฟล์ doc วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่

ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก – ฮ ไฟล์ pdf แบบคัดลายมือ ตามรอยประ ดาวน์โหลดฟรี

ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก – ฮ ไฟล์ pdf แบบคัดลายมือ ก-ฮ ตามรอยประ ดาวน์โหลดฟรี

ครูดีดอทคอม ขอเสนอ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก – ฮ ไฟล์ pdf ไว้ให้ครู ผู้ปกครอง ได้ใช้ฝึก นักเรียน หรือ บุตรหลานของท่าน สามารถใช้ได้ทั้ง อนุบาล ประถม หรือมัธยม เป็น แบบคัดลายมือ ตามรอยประ ตามรายละเอียดด้านล่างค่ะ

ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก - ฮ ไฟล์ pdf แบบคัดลายมือ ตามรอยประ ดาวน์โหลดฟรี

ลักษณะของการคัดลายมือ การคัดลายมือ มี 3 ลักษณะ คือ

1. การคัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 ควรฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เนื่องจากเป็นช่วงที่กล้ามเนื้อมือ และการประสานระหว่าง ตากับมือยังพัฒนาไม่เต็มที่

2. การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 4 จะมี การประสานระหว่างกล้ามเนื้อมือและตาเพิ่มมากขึ้น จึงควรฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด แต่ขณะเดียวกันก็ยังต้องฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดด้วย

3. การคัดลายมือ หวัดแกมบรรจง เป็นการคัดลายมือแบบหวัด แต่ให้อ่านออก การเขียนลายมือหวัดแกมบรรจงเป็นการเขียนที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ซึ่งผู้เขียนจะต้องเขียนให้อ่าน ง่าย มีช่องไฟ เว้นวรรคตอนถูกต้อง และเขียนด้วยลายมือที่สวยงามนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 ควรหัดคัดลายมือหวัดแกมบรรจง โดยคัดให้รวดเร็ว สวยงาม ถูกต้องและน่าอ่าน โดยมี การฝึกคัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดเป็นครั้งคราว

อย่างไรก็ดี แบบฝึกคัดลายมือนี้ก็สามารถใช้เป็นส่วนประกอบในการพัฒนา การเขียนให้กับนักเรียนได้ ครูดีดอทคอม ขอเสนอ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก – ฮ ไฟล์ pdf ไว้ให้ครู ผู้ปกครอง ได้ใช้ฝึก นักเรียน หรือ บุตรหลานของท่าน สามารถใช้ได้ทั้ง อนุบาล ประถม หรือมัธยม เป็น แบบคัดลายมือ ตามรอยประ โดยท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ที่นี่

แบบฝึกหัดคัดลายมือ ก – ฮ ไฟล์ pdf คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด

ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก - ฮ ไฟล์ pdf แบบคัดลายมือ ตามรอยประ ดาวน์โหลดฟรี ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดลายมือ ภาษาไทย ก - ฮ ไฟล์ pdf แบบคัดลายมือ ตามรอยประ ดาวน์โหลดฟรี

ไฟล์คัดลายมือ pdf แบบฝึกคัดลายมือภาษาไทย สำหรับฝึกคัดลายมือนักเรียน ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

ไฟล์คัดลายมือ doc แบบฝึกคัดลายมือภาษาไทย สำหรับฝึกคัดลายมือนักเรียน ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

เรื่องราวที่น่าสนใจ ไฟล์คัดลายมือ pdf doc แบบฝึก คัดลายมือ ภาษาไทย สำหรับฝึก คัดลายมือ นักเรียน ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

ดาวน์โหลดที่นี่ แบบฝึกคัดตัวเลข 1-10 ทั้ง คัดเลขไทย และ คัดเลขอารบิก แบบคัดเลข ตามรอยประ ไฟล์ pdf หลากหลายแบบ ดาวน์โหลดฟรี

ชพคเดือนล่าสุด2566 ตาราง จ่ายเงิน ช. พ ค ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566

ชพคเดือนล่าสุด2566 ตาราง จ่ายเงิน ช. พ ค ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566

สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน ครูดีดอทคอม มีเรื่องราวเกี่ยวกับ ชพคเดือนล่าสุด2566 ตาราง จ่ายเงิน ช. พ ค 2566 มาฝากทุกท่าน ซึ่งทางทีมงานได้จัดทำข้อมูลเป็นตารางข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ค่ะ

 

ชพคเดือนล่าสุด2566 ตาราง จ่ายเงิน ช. พ ค ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566

ชพคเดือนล่าสุด2566 ตาราง จ่ายเงิน ช. พ ค ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566

 

หรับยอดการจ่ายเงิน ชพค.เดือนล่าสุด2566 ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566 ซึ่งเป็นข้อมูลที่เผยแพร่ลงในเว็บไซต์ทางการของ สกสค. โดยขอนำเสนอเป็นตารางรายละเอียดดังนี้ค่ะ

ข้อมูลการจ่ายเงินชพค.-ชพส. ปี 2566

 

เดือน

การจ่ายเงิน ชพค.

การจ่ายเงิน ชพส.

มกราคม 863.00 424.00
กุมภาพันธ์ 802.00 441.00
มีนาคม 799.00 399.00
เมษายน 680.00 368.00
พฤษภาคม 726.00 365.00
มิถุนายน 730.00 400.00
กรกฎาคม 840.00 417.00
สิงหาคม 746.00 404.00
กันยายน 0 0
ตุลาคม 0 0
พฤศจิกายน 0 0
ธันวาคม 0 0
รวม 6,186.00

4,218.00

ขอบคุณที่มา ยอดการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. จาก : สกสค.

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง ยอด ชพค.ล่าสุด 2566 ชพค.เดือนล่าสุด ข้อมูลการจ่ายเงิน ชพค.-ชพส. ปี 2566 เช็คที่นี่

สมัคร ชพค กรณีพิเศษ 2566 สกสค. เปิดรับสมัครสมาชิก ช.พ.ค. – ช.พ.ส. กรณีพิเศษ อายุเกิน 35 ขึ้นไป ถึงวันที่ 4 เมษายน 2566 เท่านั้น

รวมวิจัยไฟล์ doc วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่

รวมวิจัยไฟล์ doc วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่

วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่ วิจัย ไฟล์ word นามสกุล doc สามารถแก้ไขได้

วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่ วิจัย ไฟล์ word นามสกุล doc สามารถแก้ไขได้

การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึงการวิจัยที่ทำในบริบทของชั้นเรียน และมุ่งนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนของตน เป็นการนำกระบวนการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาครูให้ไปสู่ความเป็นเลิศ และมีอิสระทางวิชาการ (ทิศนา แขมมณี 2540: 5) สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่ครูทำเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนของผู้เรียนบางคน บางกลุ่ม หรือทั้งหมด ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน และพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีกระบวนการวางแผน ปฏิบัติตามแผน สังเกตผลที่เกิดขึ้น และการสะท้อนความคิด

ครูดีดอทคอม ได้รวบรวมวิจัยไฟล์ doc วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ให้คุณครูได้ใช้เป็นแนวทาง สามารถดาวน์โหลดได้ตามลิงก์ด้านล่างค่ะ

วิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่ วิจัย ไฟล์ word นามสกุล doc สามารถแก้ไขได้
รวมวิจัยในชั้นเรียน มากกว่า 250 เรื่อง ทุกกลุ่มสาระวิชา ดาวน์โหลดได้ที่นี่ วิจัย ไฟล์ word นามสกุล doc สามารถแก้ไขได้

การวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษา (Action Research in Education )หมายถึงการค้นคว้าหาคําตอบที่เชื่อมโยงทฤษฎีทางการศึกษาสู่การปฏิบัติจริงในสถานศึกษา โดยการคิดสะท้อน (ReflectiveThinking) การสอนของครูมีลักษณะสําคัญคือ เป็นปรับปรุงการปฏิบัติงานการศึกษา เป็นการเพิ่มพลังความสามารถของครูและเป็นความก้าวหน้าในวิชาชีพทางการศึกษา

วิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) หมายถึงการสืบสอบเชิงธรรมชาติ( Natural Inquiry) จากปรากฎการณที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอน การเรียนรู้หรือ พฤติกรรมผู้เรียนโดยที่ครูเป็นผู้วิจัยในสิ่งที่ครูปฏิบัติอยู้ มีผู้เรียน ผู้บริหารหรือ ครูในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการวิจัยด้วย

การวิจัยในชั้นเรียน เป็นแนวทางการดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนรู้การเรียนการสอน เพื่อ แก้ไขปัญหาหรือจัดกิจกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับนักเรียน แบะพัฒนาการ ออกแบบสื่อ นวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อนําผลการวิจัยมาปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู้ของ นักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากกว่าเดิม ทําไมครูผู้สอนต้องเป็นนักวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ครูผู้สอนต้องเป็นครูนักวิจัยในชั้นเรียนด้วยเหตุผลหลายประการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายทางการศึกษาและ ข้อกําหนดของคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู และเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์ในการประเมินตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพภายในของ สพฐ. และ การประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ดังนี้

1) มาตรา 30 และ มาตรา 24 (5) ใน พรบ. การศึกษาแห่งชาติกําหนดให้ครูทําวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการการเรียนรู้และใช้เป็น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งของครูและนักเรียน

2) มาตรฐานวิชาชีพครูด้านมาตรฐานการเรียนรู้ ตาม ข้อกําหนดของคุรุสภากําหนดให้ครูเป็นผู้ที่มีความรู้ในการวิจัยทางการศึกษา รู้จักใช้กระบวนการวิจัยในการ แก้ปัญหาในชั้นเรียน และมีความสามารถในการทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน

3) สพฐ. และ สมศ. ได้กําหนดมาตรฐานคุณภาพครูในการตรวจทบทวนคุณภาพภายใน และการประกัน คุณภาพภายนอกว่าด้วยมาตรฐานด้านครูที่เกี่ยวข้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ซึ่งครูผู้สอน จําเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจและลงมือปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อสะท้อนภาพการดําเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่สําคัญ 7 กิจกรรม คือ (1) การวิเคราะห์หลักสูตรและวางแผนพัฒนาการเรียนรู้ (2) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล (3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย (4) การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน (5) การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านเน้นองค์รวมและเน้นพัฒนาการ(6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการจัด การเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ(7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการ สอนของตนเอง

ขอบคุณเนื้อหาจาก ครูอัพเดตดอทคอม

เรื่องราวที่น่าสนใจเพิ่มเติม แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา แบบฝึกคิดเลขเร็ว ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 รูปเล่ม คณิตคิดเร็ว สวยงาม ดาวน์โหลดไฟล์ pdf ได้ที่นี่

งานวิจัยในชั้นเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับอนุบาล ประถม มัธยม เพื่อเป็นตัวอย่างในการทำวิจัยในชั้นเรียน กว่า 200 งานวิจัย

dmc 2565 เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565 ได้ที่นี่

0

dmc 2565 เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565 ได้ที่นี่

สวัสดีค่ะวันนี้เว็บไซต์ ครูดีดอทคอม มีข้อมูลเกี่ยวกับ dmc 2565 เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565 ได้ที่นี่ รายละเอียดจะเป็นยังไง อ่านได้ที่นี่ค่ะdmc 2565 เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565

เปิดแล้ว ระบบ dmc 2565 เปิดให้ เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565 จัดทำข้อมูล ต้น-ปลายปีการศึกษา 2565 แล้ว ประกาศ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 ในหน้าเว็บไซต์ ของ ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล  Data Management Center

เปิดเมนูให้ทำข้อมูลสิ้นปีการศึกษา 2565 (3/2565)

  • ส่งแก้ไขเลขบัตรประชาชนทางอีเมล์เท่านั้น หยุดแก้ไขในวันที่ วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 16.30 น.
  • ข้อมูลรายคนในขณะนี้ต้องเป็น นร.ที่สอบปลายภาคเรียนที่โรงเรียนเท่านั้น
  • นักเรียนที่มาสมัครใหม่ปีการศึกษา 2566 ห้ามกรอกเข้าระบบตอนนี้
  • ย้ายเข้า/เพิ่ม ให้เข้าเฉพาะนักเรียนที่สอบปลายภาคปีการศึกษา 2565 กับทางโรงเรียนเท่านั้น
  • ย้ายออก/จำหน่าย สามารถจำหน่ายนักเรียนที่ออกก่อนสอบปลายภาคปีการศึกษา 2565 ได้
  • ออกกลางคัน ให้ปรึกษาเขตพื้นที่การศึกษาก่อนดำเนินการ
  • นักเรียนที่สอบปลายภาค ที่โรงเรียนให้ทำข้อมูลสิ้นปีในเมนู 3.2.2, 3.2.2.1, 3.2.2.2 ตามลำดับ
  • ลิงก์ เข้าระบบข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2565 ใน ระบบ DMC65 คลิกที่นี่

ปุ่มยืนยันจะสามารถกดได้ในวันที่ 30 เมษายน 2566 ตั้งแต่เวลา 8.00 น. และปิดระบบในวันเดียวกันเวลา 16.30 น.DMC2566 DMC66 เปิดระบบให้จัดทำข้อมูล ต้น-ปลายปีการศึกษา 2565 เปิดแล้ว ระบบDMC 2566

แนวทางการทำข้อมูล

  • เข้าเมนู 2.2 ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน เพื่อแก้ไขจำนวนห้องเรียนและชั้นเรียนที่เปิดสอนในรอบเทอม 1 ปีการศึกษา 2565 รวมถึงตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนในหัวข้ออื่นและแก้ไขให้ถูกต้อง
  • เข้าเมนู 2.8 จำนวนนักเรียนแยกชั้น,เพศ เพื่อตรวจสอบจำนวนนักเรียน และข้อมูลตั้งต้นในรอบ 1/2565

ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือ ระบบdmc65 คลิกที่นี่

ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนคงค้างปีการศึกษาเดิมในระบบ DMC ปีการศึกษา 2565 ดังนี้

  • เข้าเมนู 2.4 รายชื่อนักเรียนที่ทำรอดำเนินการในปีการศึกษาที่แล้ว เพื่อตรวจสอบว่ามีนักเรียนคนไหนที่มาเรียนในปี 2565 ให้ดำเนินการดังนี้
  • ข้อมูลต่อเนื่องจากเมนู 2.4 นักเรียนที่มาขอลาออกไปแล้วแต่ยังค้างอยู่ปีเก่า ให้ทำข้อมูลในเมนู 2.6.1 เพื่อนำนักเรียนออกจากรายชื่อ
  • ข้อมูลต่อเนื่องจากเมนู 2.4 หากนักเรียนคนไหนเลื่อนชั้นและเรียนต่อที่เดิม ให้ทำข้อมูลในเมนู 2.6.2
  • ข้อมูลต่อเนื่องจากเมนู 2.4 หากนักเรียนคนไหนซ้ำชั้น ให้ทำข้อมูลในเมนู 2.6.3
  • ข้อมูลต่อเนื่องจากเมนู 2.4 หากนักเรียนคนไหนจบชั้น ป.6/ม.3/ม.6(ปวช.3) ออกไปจากโรงเรียนแล้ว ให้ทำข้อมูลในเมนู 2.6.4
  • นักเรียนคนไหนที่ยังไม่มาเรียน ให้ติดตามและพิจารณาจำหน่ายในภายหลัง(รอบ 10 พ.ย.)

การย้ายเข้า/ย้ายออก ข้อมูลรายคนในขณะนี้ต้องเป็น นร.ที่มีตัวตน ศึกษาอยู่ในโรงเรียน ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เท่านั้น

  • นักเรียนเข้าใหม่ เมนู 2.7.1 เพื่อนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่อยู่ในระบบ DMC อยู่แล้วเข้ามาในโรงเรียน (เด็กเก่าในระบบ dmc จากโรงเรียนอื่น,เลข G ที่มีข้อมูลในระบบ DMC สามารถกรอกในเมนูนี้ได้เลย)
  • นักเรียนเข้าใหม่ เมนู 2.7.3 เพื่อกรอกข้อมูลใหม่ทั้งหมด (สาเหตุเพราะไม่เคยมีข้อมูลใน DMC, มาจากสังกัดอื่น)
  • นักเรียนเข้าใหม่ เมนู 2.7.4 เพื่อนำเข้าเด็ก G ที่พึ่งขอใหม่จากระบบ Gcode (เป็นเด็กที่ไม่มีบัตรหลักฐานทางทะเบียนราษฎร และไม่เคยมีข้อมูลอยุ่ในระบบ DMC)
  • เมนู 2.7.5 นักเรียนที่มาขอทำย้ายออกในช่วงก่อนวันที่ 10 มิถุนายน 2565
  • เมนู 2.7.6 ออกกลางคัน/จำหน่าย ให้ปรึกษาเขตพื้นที่การศึกษาก่อนดำเนินการ
  • เมนู 2.7.7 สามารถใช้จัดห้องเรียนนักเรียนได้ หรือสามารถทำรายคนในเมนู 2.3
  • เมนู 2.7.8 เปลี่ยนชื่อนักเรียน โรงเรียนไม่สามารถแก้ไขชื่อนามสกุลในเมนู 2.3 ได้ ต้องแก้ไขในเมนูนี้เท่านั้น ไม่รับเรื่องแก้ไขชื่อ นามสกุลทาง Email และห้ามอัพโหลดไฟล์แก้ไขชื่อเข้ามาในระบบ
  • ส่งแก้ไขเลขบัตรประชาชนทางอีเมล์เท่านั้น (ดูรายละเอียดในเมนู 2.7.9) หยุดรับเรื่องแก้ไขในวันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 16.30 น.

เรื่องราวที่น่าสนใจ : เปิดระบบแล้ว!!! dmc66 DMC 2566 เปิดแล้วระบบให้จัดทำข้อมูล ต้น-ปลายปีการศึกษา 2565 ระบบ DMC 2566